พัฒนาขึ้นเเล้วโดยบริษัทEnfucell ของFinland เเบตเตอรี่ดังกล่าวสามารถตัดปัญหาการรั่วไหลของโลหะเเละสารอัลคาไลน์ที่พบ เจอในเเบตเตอรี่ทั่วๆไป อีกทั้งยังช่วยรักษาสิ่งเเวดล้อมด้วยเซลล์เชื้อเพลิงที่สร้างจากกระดาษนี้ทำงานด้วยหลักการเดียวกันกับถ่านนาฬิกา เเละถ่านไฟฉาย ไอออน(Ion) เดินทางจากขั้วลบ(anode) ผ่านสารละลายelectrolyte ไปสู่ขั้วบวก(cathode) ก่อให้เกิดกระแสไฟฟ้า เเต่เเทนที่จะให้ไอออนเดินทางในกรอบโลหะซึ่งเต็มไปด้วยโลหะเป็นพิษอย่าง Lithium ทางบริษัท Enfucell ใช้กระดาษเเผ่นบางๆเป็นเส้นทางลำเลียงไอออน โดยเคลือบด้านนึงของกระดาษด้วยสังกะสี (zinc) เเละอีกข้างด้วยเเมงกานีส ไดออกไซด์(Manganese dioxide) ไอออนจะไหล ผ่านสารละลายของน้ำเเละ zinc
chlorideภายในกระดาษ
เจ้าเเบตเตอรี่1.5V(เท่ากับถ่านไฟฉาย)ตัวนี้ไม่ได้เเค่เป็นมิตรกับสิ่งเเวด ล้อม เเต่ยังถูกด้วย เมื่อผลิตในจำนวนมากก็จะสามารถขายได้ในราคา
ชิ้นละหนึ่งเพนนี(ไม่ถึงบาท) โดยมีขนาดเฉลี่ยอยู่ที่ความบาง 4 ม.ม. ความกว้างเเละยาวอยู่ที่ 5x5 ซ.ม.
ชิ้นละหนึ่งเพนนี(ไม่ถึงบาท) โดยมีขนาดเฉลี่ยอยู่ที่ความบาง 4 ม.ม. ความกว้างเเละยาวอยู่ที่ 5x5 ซ.ม.
SoftBatterysไม่สามารถให้พลังงานได้นานพอสำหรับกล้องดิจิตอลหรือนาฬิกาข้อ มือ เเต่เหมาะสำหรับระบบการชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ RFID
(Radio Frequency Identification)tag หรือเเผ่นป้ายส่งข้อมูลไร้สายที่กำลังมาเเทนที่ระบบบาร์โค้ด ตัวอย่างการใช้ระบบRFID ก็เช่นเเผ่นป้าย ติด
ตัวสินค้าในร้านค้า มันสามารถทำให้เรารู้ได้ว่ามีสินค้าในสต็อกเท่าไหร่ เเบตเตอรี่จะเหมาะกับความบางของเเผ่นป้ายมาก
(Radio Frequency Identification)tag หรือเเผ่นป้ายส่งข้อมูลไร้สายที่กำลังมาเเทนที่ระบบบาร์โค้ด ตัวอย่างการใช้ระบบRFID ก็เช่นเเผ่นป้าย ติด
ตัวสินค้าในร้านค้า มันสามารถทำให้เรารู้ได้ว่ามีสินค้าในสต็อกเท่าไหร่ เเบตเตอรี่จะเหมาะกับความบางของเเผ่นป้ายมาก
ข้อดีอีกอย่างคือ เเผ่นป้ายRFIDที่มีเเบตเตอรี่ในตัวเองจะส่งสัญญาณได้ชัดเจนเเละไกลกว่า เเบตเตอรี่ก็ไม่ถูกใช้อย่างสิ้นเปลือง เพราะพลังงานจะถูก
นำมาใช้เฉพาะตอนที่เเผ่นป้ายส่งสัญญาณเท่านั้น นอกจากนี้ยังส่งสัญญาณผ่านของเหลวเเละอะลูมิเนียม สองอย่างที่มักบล็อกสัญญาณได้ด้วย
นำมาใช้เฉพาะตอนที่เเผ่นป้ายส่งสัญญาณเท่านั้น นอกจากนี้ยังส่งสัญญาณผ่านของเหลวเเละอะลูมิเนียม สองอย่างที่มักบล็อกสัญญาณได้ด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น