วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รายชื่อสมาชิกไฟฟ้าอุตสาหกรรม

1. อาจารย์ ธภัทร  ชัยชูโชค  อ.ปาล์ม
2. นายนิโรจน์ หวันปรัตน์   ซอล
3.นายรชต อารี   รอน
4. นายรุสดี วาลี   ซี
5. นายอับดุลเลาะ กาโฮง   เลาะ
6. นาย อภิวัฒน์   เจิมขวัญ   กุ้ง
7. นาย ชัยยงค์   ชูแก้ว 
 ปั๊ม
8. นาย วิโรจน์   เหมมาน   
ลิฟ
9. นาย อาคม   เรืองกูล   
แบงค์
10. นาย อนุพงษ์   เทพพรหม  
 ทิว
11. นายกฤษกร สุวรรณวงศ์   เอฟ
12. นายจตุพงค์ ณ สงขลา   พงค์
13.  นายจิรกิตต์ สุขเกษม   บอย
14.  นายจิรพงศ์ แจ่มศรี   เอฟ
15. นายเชิดชาย เรืองฤทธิ์   ชาย
16. นายตวิษ เพ็งศรี   บ่าว
17. นายธีรวุฒิ ศรีสวัสดิ์   วุฒิ
18. นายนพรัตน์ แก้วกำเนิด   เอ็กซ์
19. นายนันทปรีชา ปิยะ บุญสนอง   โปร
20. นายนิรันดร์ เสมอพบ   แบ
21. นายปภังกร เอียดจุ้ย   กิ๊ฟ
22. นายปรินทร์ ผุดผ่อง   บอล
23. นายพิชชากร มีบัว   กร     
24. นายพีระพงศ์ จันทร์ชู   พงศ์
25. นายภาคภูมิ จุลนวล  เจ
26. นางสาวเยาวเรศ ร่วมพรภาณุ   โรส
27. นายวสุ ราชสีห์   หนัง
28. นายวัชรินทร์ เขียนวารี  ปอนด์
29. นายวิฆเนศ ณ รังษี   หมู
30. นายวิโรจน์ เหมมาน   ลิฟ
31. นายศุภวัฒน์ ไชยของพรม   รุส
32. นายสมประสงค์ วงศ์สุวรรณ   ทู 
33. นายสมศักดิ์ มากเอียด   กล้วย
34. นายสราวุฒิ เกบหมีน  ซอล
35. นายสานิต มิตสุวรรณ   ปอ
36. นายสุรเดช สม่าแห   ยา
37. นายสุรศักดิ์ สะเกษ   โจ้
38. นายเสะมาดี ดูแวดาแม เสะมาดี 
39. นายอนิรุตต์ ภาระบุญ   โต๋
40. นายอภิเดช ทองอินทร์   โหนด
41. นายอภิสิทธิ์ ยะโกบ   ดุล
42. นายอับดุลรอมัน บูกา  รอมัน
43. นายอาจณรงค์ ราชูภิมนต์  มิค
44. นายอานนท์ นาควิเชียร   นนท์
45. นายอาลียะ สะอุ   ฟาน
46. นายอิสมาแอ   มะยี 
47. นายจตุรงค์ หิรัญกูล  
 นิว
48. นายเกรียงศักดิ์   บุญประเสริฐ  
 เบียร์
49. นายพุฒิพงศ์   หนูนอง   
เพชร
50.นาย วงศธร อินทมะโน หลวงหมีด

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (ring topology)

โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน ring topology

โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน ring topology
การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (RING TOPOLOGY) เป็นการเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นรูปวงแหวนหรือแบบวนรอบ โดยสถานีแรก เชื่อมต่อกับสถานีสุดท้าย การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายจะต้องผ่านทุกสถานี โดยมีตัวนำข่าวสาร วิ่งไปบนสายสัญญาณ ของแต่ละสถานี ต้องคอยตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมา ถ้าไม่ใช่ของตนเอง ต้องส่งผ่านไปยังสถานีอื่นต่อไป ตัวอย่างเช่น การเชื่อมต่อของ IBM Token Ring ที่ต้องมีตัวนำข่าวสาร หรือ Token นำข่าวสารวิ่งวนไปรอบสายสัญญาณหรือ Ring แต่ละสถานีจะคอยตรวจสอบ Token ว่าข่าวสารที่นำมาด้วยเป็นของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็จะรับข่าวสารนั้นไว้ แล้วส่ง Token ให้สถานีอื่นใช้ต่อไปได้

ข้อดี ของการเชื่อมต่อแบบนี้คือ ใช้สายส่งสัญญาณน้อยกว่าแบบดาว เหมาะกับการเชื่อมต่อ ด้วยสายสัญญาณใยแก้วนำแสง เพราะส่งข้อมูลทางเดียวด้วยความเร็วสูง

ข้อเสีย คือถ้าสถานีใดเสีย ระบบก็จะไม่สามารถทำงานต่อไปได้ จนกว่าจะแก้ไขจุดเสียนั้น และยากในการตรวจสอบว่ามีปัญหาที่จุดใด และถ้าต้องการเพิ่มสถานีเข้าไป จะกระทำได้ยาก


วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ศุภวัฒน์ ไชยของพรม 565702026

ชื่อ  นาย ศุภวัฒน์ ไชยของพรม
ชื่อเล่น รูส
ที่อยู่ พัทลุง

เเบตเตอรี่กระดาษ (SoftBatterys)

                                   

  เเบตเตอรี่ชนิดใหม่ ที่ไม่ต้องนำไปรีไซเคิลหลังใช้ เสร็จเเล้ว เเต่ใช้เเล้วทิ้งเลยเเบบเศษขยะทั่วไปได้ถูก
พัฒนาขึ้นเเล้วโดยบริษัทEnfucell ของFinland เเบตเตอรี่ดังกล่าวสามารถตัดปัญหาการรั่วไหลของโลหะเเละสารอัลคาไลน์ที่พบ เจอในเเบตเตอรี่ทั่วๆไป อีกทั้งยังช่วยรักษาสิ่งเเวดล้อมด้วยเซลล์เชื้อเพลิงที่สร้างจากกระดาษนี้ทำงานด้วยหลักการเดียวกันกับถ่านนาฬิกา เเละถ่านไฟฉาย ไอออน(Ion) เดินทางจากขั้วลบ(anode) ผ่านสารละลายelectrolyte ไปสู่ขั้วบวก(cathode) ก่อให้เกิดกระแสไฟฟ้า เเต่เเทนที่จะให้ไอออนเดินทางในกรอบโลหะซึ่งเต็มไปด้วยโลหะเป็นพิษอย่าง Lithium ทางบริษัท Enfucell ใช้กระดาษเเผ่นบางๆเป็นเส้นทางลำเลียงไอออน โดยเคลือบด้านนึงของกระดาษด้วยสังกะสี (zinc) เเละอีกข้างด้วยเเมงกานีส ไดออกไซด์(Manganese dioxide) ไอออนจะไหล ผ่านสารละลายของน้ำเเละ zinc
chlorideภายในกระดาษ
                                                                     
                                                   
      เจ้าเเบตเตอรี่1.5V(เท่ากับถ่านไฟฉาย)ตัวนี้ไม่ได้เเค่เป็นมิตรกับสิ่งเเวด ล้อม เเต่ยังถูกด้วย เมื่อผลิตในจำนวนมากก็จะสามารถขายได้ในราคา
ชิ้นละหนึ่งเพนนี(ไม่ถึงบาท) โดยมีขนาดเฉลี่ยอยู่ที่ความบาง 4 ม.ม. ความกว้างเเละยาวอยู่ที่ 5x5 ซ.ม.

                                                                                                           
      SoftBatterysไม่สามารถให้พลังงานได้นานพอสำหรับกล้องดิจิตอลหรือนาฬิกาข้อ มือ เเต่เหมาะสำหรับระบบการชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ RFID
(Radio Frequency Identification)tag หรือเเผ่นป้ายส่งข้อมูลไร้สายที่กำลังมาเเทนที่ระบบบาร์โค้ด ตัวอย่างการใช้ระบบRFID ก็เช่นเเผ่นป้าย ติด
ตัวสินค้าในร้านค้า มันสามารถทำให้เรารู้ได้ว่ามีสินค้าในสต็อกเท่าไหร่ เเบตเตอรี่จะเหมาะกับความบางของเเผ่นป้ายมาก
      ข้อดีอีกอย่างคือ เเผ่นป้ายRFIDที่มีเเบตเตอรี่ในตัวเองจะส่งสัญญาณได้ชัดเจนเเละไกลกว่า เเบตเตอรี่ก็ไม่ถูกใช้อย่างสิ้นเปลือง เพราะพลังงานจะถูก
นำมาใช้เฉพาะตอนที่เเผ่นป้ายส่งสัญญาณเท่านั้น นอกจากนี้ยังส่งสัญญาณผ่านของเหลวเเละอะลูมิเนียม สองอย่างที่มักบล็อกสัญญาณได้ด้วย